วันพุธที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ข้อสอบ IPV6 30 ข้อ

1. IP Address มีชื่อเต็มว่า
ก. Internet Protocall Address
ข. Internet Protocol Address
ค. Internat Protocall Address
ง. Internets Protocol Address

2. ข้อใดเป็นลักษณะเฉพาะของ IP Address ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง
ก. ตัวเลขสามารถซ้ำกันได้ทุกตัว
ข. สามารถใช้เครื่องหมาย “;” คั่นระหว่างเลขแต่ละหลักได้
ค. ตัวเลขทุกตัวจะต้องไม่ซ้ำกัน
ง. แต่ละประเทศมีข้อกำหนดที่ต่างกัน

3. Internet Protocol version ใดที่ใช้กันมากที่สุดในปัจจุบัน
ก. IPv1
ข. IPv2
ค. IPv3
ง. IPv4

4. เหตุใดจึงมีการคิดค้น Internet Protocol version ใหม่ขึ้น
ก. เพราะ IP Address ที่มีอยู่ไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้ใช้
ข. เพราะต้องมีการคิดค้นเวอร์ชันใหม่ทุกๆ 3 ปี
ค. เป็นการลงมติเห็นชอบจากเวทีโลก
ง. ไม่มีข้อใดถูก

5. IPv4 และ IPv6 แตกต่างกันอย่างไร
ก. IPv4 มี 128 บิต IPv6 มี 64 บิต
ข. IPv4 มี 128 บิต IPv6 มี 32 บิต
ค. IPv4 มี 32 บิต IPv6 มี 128 บิต
ง. IPv4 มี 32 บิต IPv6 มี 64 บิต

6. ข้อใดผิด
ก. IPv6 ผู้บริหารมีส่วนในการบริหารจัดการงานมากขึ้น
ข. IPv6 ระบบมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น
ค. IPv6 เครือข่ายมีการทำงานแบบ Real Time Processi
ง. IPv6 มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตแบบเคลื่อนที่ (Mobile IP)

7. เหตุใดประเทศในแถบอเมริกาเหนือจึงไม่มีความจำเป็นต้องใช้ IPv6
ก. เพราะสังคมเป็นแบบประชาธิปไตย
ข. เพราะมี IP Address ที่กำหนดขึ้นใช้เองเฉพาะชาวอเมริกัน
ค. เพราะมีรากฐานเศรษฐกิจที่มั่นคง
ง. เพราะได้รับการจัดสรร IP Address ไปถึง 70% ของ IP Address ที่ใช้ทั่วโลก

8. แนวโน้มการพัฒนาด้านเทคโนโลยีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้ IP Address อย่างไร
ก. ทำให้ IP Address มีปริมาณเกินความต้องการ
ข. มีการนำเอา IP Address มาใช้กับเทคโนโลยี ทำให้ต้องการใช้ IP Address มากขึ้น
ค. เทคโนโลยีด้านอื่นจะเข้ามาแทนการใช้ IP Address
ง. การใช้ IP Address ควบคู่กับเทคโนโลยีจะถูกจำกัดในวงแคบ

9. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของการมี IP Address ที่อุปกรณ์อำนวยความสะดวกหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า
ก. สามารถส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็วในการสื่อสาร
ข. เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้เหมือนคอมพิวเตอร์ โดยที่ไม่ต้องผ่านระบบใดๆ
ค. ทำให้ระบบภายในของอุปกรณ์นั้นๆ เกิดผลเสีย
ง. ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม

10. เหตุใดเราจึงควรศึกษาและทำความเข้าใจในเรื่อง IPv6
ก. เพราะหาก IPv4 ถูกใช้หมดไป IPv6 เป็นสิ่งที่จะแก้ปัญหานี้ได้
ข. เพื่อเตรียมตัวรับมือกับสถานการณ์ในอนาคต
ค. เพื่อความได้เปรียบทางธุรกิจและโอกาสในหลายๆ ด้าน
ง. ถูกต้องทุกข้อ

11.การขอหมายเลข IP Address จะต้องไปจดทะเบียนกับผู้รับจดทะเบียนอินเทอร์เน็ตระดับภูมิภาค หรือเรียกอีกอย่างว่า
ก. PIT
ข. RIR
ค. LPG
ง. PLI

12.ความจำเป็นในการใช้ IPv6 นั้นขึ้นอยู่กับความต้องการใช้อะไร
ก. mont
ข. IP Address
ค. toryt
ง. fopbfor

13. IPv4 นี้มีที่มาจากเลขฐานสองขนาดกี่บิต
ก. 36 บิต
ข. 32 บิต
ค. 45 บิต
ง. 40 บิต

14.จุดเด่นของ IPv6 ที่พัฒนาเพิ่มขึ้นมากจาก IPv4 คืออะไร
ก.ขยายขนาด Address ขึ้นเป็น 128 บิต สามารถรองรับการใช้งาน IP Address ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วได้
ข.เพิ่มขีดความสามารถในการเลือกเส้นทางและสนับสนุน Mobile Host
ค.สนับสนุนการทำงานแบบเวลาจริง (real-time service)
ง.ถูกทุกข้อ

15. IP v6 ได้กำหนดกฎในการระบุตำแหน่งเป็นกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท ค. 3 ประเภท
ข. 2 ประเภท ง. 4 ประเภท

16. IPv6 มีขนาดของ address กี่ไบท์
ก. 10 ไบท์
ข. 11 ไบท์
ค. 13 ไบท์
ง. 16 ไบท์

17. การเคลื่อน IPv6 packet จาก segment หนึ่งไปอีก segment หนึ่งมีความง่ายขึ้นด้วยโครงสร้างการค้นหาเส้นทางแบบใด
ก. แบบลำดับชั้น
ข. แบบผสม
ค. แบบต่อเนื่อง
ง. แบบล่าง

18. RIR ที่ได้จัดสรรหมายเลข IPv6 มากที่สุด คือ
ก. RIPL MCC
ข. RIPE NCC
ค. RIPT ACC
ง. RIPG TCC

19. Pv6 สนับสนุนการปรับแต่งระบบแบบแบบใด
ก. แบบอัตโนมัติ
ข. แบบถาวร
ค. แบบชั่วคราว
ง. แบบต่อเนื่อง

20. IPv6 ได้รับการออกแบบให้ปฏิรูปกลุ่มของการปรับปรุง IP เวอร์ชัน ใด
ก. 2
ข. 3
ค. 4
ง. 5

21.หน่วยงานที่ทำหน้าที่จัดสรร IP Address เหล่านี้คือ
ก.หน่ายงานจากต่างประเทศ
ข.หน่วยงานภายในประเทศไทย
ค.องค์การระหว่างประเทศที่ชื่อว่า Network Information Center - NIC
ง.ถูกทุกข้อ

22.เฮดเดอร์ของ IPV 6 เทียบกับของ IPV 4 จะสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างอะไรบ้าง
ก.ตำแหน่งที่ตัดออก
ข.ตำแหน่งที่ปรับเปลี่ยน
ค.ตำแหน่งที่เพิ่ม
ง.ถูกทุกข้อ

23. RIR ย่อมาจาก
ก.(Regional Internet Registrey)
ข.(Regional Internet Registreey)
ค.(Regional Internet Registessy)
ง.(Regional Internet Registry)

24.เทคนิคการทำงานร่วมกันระหว่าง IPv4 และ IPv6 แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ก.1
ข.2
ค.3
ง.4

25.ข้อใดคือชื่อ ก่อนที่จะพัฒนามาเป็น IPV4
ก.IP Address
ข.IPV1
ค.IPV2
ง.IPV3

26. การใช้งาน IPv4 และ IPv6 ควบคู่กันหรือที่เรียกว่าอะไร
ก. Fual stack
ข. Bual stack
ค. Eual stack
ง. Dual stack

27.IPV6 ถูกเริ่มใช้ที่ไหนก่อน
ก. ทวีปเอเชียและยุโรป
ข. ทวีปอเมริกาเหนือ
ค. ทวีปอเมริกาใต้
ง. ไม่มีข้อถูก

28. IPV6 จะประกอบด้วยเลขฐานสองจำนวนเท่าไร
ก. 128 bit
ข.127 bit
ค.126 bit
ง.125bit

29. IPv6 เพิ่มอะไร เพื่อที่จะบังคับขนาดของแพ็ตเก็ต IPv6 เท่านั้น
ก. molder
ข. Sracrer
ค. Hear
ง. Headers

30. ใน IPv6 header อนุญาตให้อะไรทำการระบุและดูแลแพ็ตเก็ตที่ไหล
ก.Router
ข.Routerse
ค.Routeredse
ง. Routeree

เฉลย
1. ข .......10. ง ..........19. ก .........28. ก
2. ค .......11. ข.......... 20. ค........ 29. ง
3. ง ....... 12. ข .........21. ค......... 30. ก
4. ก ........13. ข......... 22. ง
5. ค ........14. ง......... 23. ง
6. ก ........15 ค ..........24. ค
7. ง .........16. ง .........25. ก
8. ข .........17. ก........ 26. ง
9. ค .........18. ข........ 27. ก

IP Hedder IPV4และIPV6

IPv6 Packet Format

- สิ่งที่ควรจะรู้เกี่ยวกับ IPv6 เป็นอย่างแรกก็คือ packet format ของ IPv6 ครับ.. เพราะ packet format ก็คือ data structure ที่บอกว่า IPv6 สามารถทำอะไรได้บ้าง.. IPv6 packet ประกอบด้วย header, extended header, แล้วก็ payload ครับ .. Header ของ IPv6 ออกแบบมาให้มีขนาดคงที่และมีรูปแบบที่ง่ายที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดย header จะประกอบด้วย field จำเป็นต้องใช้ในการ process packet ที่ทุกๆ router เท่านั้น พวก options ต่างๆ ที่อาจจะ process เฉพาะที่ต้น/ปลายทาง หรือ ที่ router บางตัวจะแยกออกมาไว้ที่ extended header แทน .. รายละเอียดของ extended header เดี๋ยวว่ากันในหัวข้อ extended header ละกันนะครับ.. ตอนนี้เรามาดูที่ header ของ IPv6 กันก่อน..

Extended Headers
- มาถึง extended header กันบ้าง .. จากเหตุผลข้างบนที่ย้ายหลายๆ field มาเป็น extended header ทำให้ IPv6 มี extended header หลายๆ แบบเลยครับ แต่ละแบบก็เอาไว้ใช้ทำงานเฉพาะอย่างเพียงงานเดียว ..ใน 1 packet เราสามารถใช้ extended header ได้มากกว่า 1 อัน ดังนั้น เราจึงขอ service จาก IPv6 ได้มากกว่า 1 อย่าง .. IPv6 specification ล่าสุดกำหนดให้มี extended header อยู่ 6 แบบ ทุกแบบจะขึ้นต้นด้วย field "Next Header" เสมอ เพื่อระบุว่า extended header อันถัดเป็นชนิดไหน..
> Hop-by-Hop Options: เป็น option ที่ระบุให้ทุก router ที่อยู่ในเส้นทางระหว่างต้น/ปลายทางจะต้องทำตาม ตอนนี้ใน IPv6 specification มี option อยู่เพียงสองอัน คือ Jumbogram options สำหรับให้ IPv6 packet มีขนาดใหญ่กว่า 65535 octets ได้ ขนาดของ jumbogram สูงสุดคือ 2^32 octets (4,294,967,295 octets) เชียวล่ะครับ..อีก option นึงเอาไว้ทำ padding
> Routing: ใช้สำหรับทำ source routing ครับ.. คือต้นทางสามารถระบุเส้นทางที่ packet ต้องผ่านได้ โดย list เป็น router ที่ต้องส่ง packet ผ่านไปจนถึงปลายทาง.. Source routing ของ IPv6 สามารถระบุแต่ละ router ใน list ได้เลยว่าเป็น strict source routing หรือ loose source routing (หมายความว่าเราระบุ ทั้ง strict และ loose source routing ผสมกันได้) ซึ่งยืดหยุ่นมากกว่า source routing ของ IPv4 ที่จะบังคับว่า router ใน list ต้องเป็น strict หรือไม่ก็เป็น loose source routing ทั้งหมด
> Fragment: ใช้สำหรับทำ fragmentation เหมือนของ IPv4 แต่ที่ต่างกันก็คือ IPv6 จะมี function สำหรับหา path MTU ไว้อยู่แล้วเพื่อจะได้รู้ว่าขนาด Maximum Transfer Unit ที่เหมาะสมของ path นั้นๆ มีค่าเป็นเท่าไหร่ ดังนั้นการทำ fragmentation จึงทำที่ source node เท่านั้น (IPv4 จะทำ fragmentation ทั้งที่ source node และ router)> Destination Options: ใช้งานคล้ายๆ กับ Hop-by-Hop option ครับ แต่จะเป็น option สำหรับปลายทางเท่านั้น.. ตอนนี้มีเพียง option เดียว คือเอาไว้ทำ padding > Authentication: อันนี้ชื่อก็บอกอยู่แล้ว..ใช้สำหรับทำ authentication รายละเอียดจะอยู่ในเรื่อง IP Security (IPSEC) เอาไว้ว่างๆ จะเขียนมาให้อ่านครับ ถ้าเอามารวมกับ IPv6 เดี๋ยวจะยาวเกินไป
> Encapsulated Security Payload: ใช้สำหรับทำ encryption และ cryptography อื่นๆ รายละเอียดก็จะอยู่ใน IP Security เหมือนกัน..
- Extended header มีอย่างมากไม่เกินแบบละ 1 อัน ยกเว้น destination option header ซึ่งอาจจะมีได้ 2 อัน..อืมม..ทีนี้พอมี extended header หลายๆ แบบอย่างนี้ก็ต้องมีลำดับการเรียง extended header ให้ถูกต้องด้วย...ถ้าใส่กันเต็มๆ ก็จะเรียงลำดับตามนี้:
1. IPv6 header
2. Hop-by-Hop Options header
3. Destination Options header
4. Routing header
5. Fragment header
6. Authentication header
7. Encapsulating Security Payload header
8. Destination Options header
9. Upper-layer header (e.g., TCP, UDP) - IPv6 header ได้ถูกออกแบบให้มีขนาด Header ลดน้อยลง โดยทำการย้ายฟิลด์ที่ไม่จำเป็น หรือที่เพิ่มออก โดยวางไว้หลัง IPv6 header และใช้การแจ้งเป็น Streamline header ซึ่งมีประสิทธิภาพในการดำเนินการติดต่อกับ Router ทันทีทันใด
- IPv4 header กับ IPv6 header ไม่สามารถใช้ง่ายร่วมกันได้ ซึ่งในการวางระบบทั้ง Ipv4 และ IPv6 ต้องทำทั้งคู่เพื่อให้รู้จักรูปแบบของ Header ซึ่ง Header ของ IPv6 ใหญ่กว่าของ IPv4 สองเท่า และตำแหน่งที่อยู่ใหญ่กว่าถึง 4 เท่า

วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2552

Topology

ระบบ BUS
Bus หรือ แบบเส้นตรง เป็นการเชื่อมต่อสายแบบเส้นตรง ซึ่งติดตั้งได้ง่าย แต่มีปัญหาในกรณีที่สายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดไป จะทำให้ระบบ Network จะหยุดทำงานทันที
ข้อดีของ Bus
ใช้ส่ายส่งข้อมูลน้อยและมีรูปแบบที่ง่าย การใช้สายส่งข้อมูลจะใช้สายส่งข้อมูลร่วมกันทำให้สายส่งข้อมูลได้อย่างประหยัด ช่วยลด ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและการบำรุงรักษา มีโครงสร้างที่ง่าย สถาปัตยกรรมแบบนี้มีโครงสร้างที่ง่ายและมีความเชื่อถือได้เพราะใช้สายส่งช้อมูลเพียงเส้นเดียว ง่ายในการเพิ่มจุดใช้บริการใหม่เข้าไปในระบบ จุดใหม่จะใช้สายส่งข้อมูลที่มีอยู่แล้วได้และยังอาจขยายระบบออกไปโดยเพิ่มเซกเมนต์ ที่ต่อออกมาโดยใช้ตัวทวนซ้ำสัญญาณได้
ข้อเสียของ Bus
การหาข้อผิดพลาดทำได้ยาก แม้ว่าโครงสร้างแบบพื้นฐานแบบบัสนี้จะมีรูปแบบคำสั่งง่ายแต่การตรวจสอบข้อผิดพลาดจะทำได้ยากในระบบ เครือข่ายท้องถิ่นส่วนใหญ่ การควบคุมระบบจะไม่มีศูนย์กลางอยู่ที่จุดใดจุดหนึ่งเฉพาะซึ่งหมายความว่าการตรวจสอบข้อผิดพลาดต้องทำจาก หลาย ๆ จุดในระบบ
ในกรณีที่เกิดการเสียหายในสายส่งข้อมูล จะทำให้ระบบทั้งข้อมูลไม่สามารถทำงานได้ เมื่อจะขยายระบบเครือข่ายแบบบัสโดยใช้ตัวทวนสัญญาณ อาจต้องมีการจัดโครงสร้างของระบบใหม่
จุดในระบบใดต้องฉลาดพอ เนื่องจากแต่ละจุดในระบบเครือข่ายต่อตรงโดยกับบัส ซึ่งหมายความว่าการตัดสินใจว่าใครจะใช้งานสาย ส่งข้อมูลจะเป็นหน้าที่ของแต่ละจุด ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

ระบบ Star
Star หรือแบบดาวกระจาย Workstation และ File Server จะถูกเชื่อมเข้ากับอุปกรณ์ต่อเชื่อมตัวกลางที่เรียกว่า Concentrator หรือ Hub โดย Hub นี้จะทำหน้าที่รับส่งข้อมูลจาก Station หนึ่งแล้วส่งไปให้กับ Station อื่นข้อดีคือ Station ใดขัดข้องขึ้นมา Station อื่นก็ยังคงทำงานได้อย่างปกติ นอกจาก Hub หรือ File Server เองจะมีปัญหาซึ่งจะทำให้ระบบหยุดการทำงานเช่นกัน
ข้อดีของ Star
ง่ายในการให้บริการโทโพโลยีแบบดาวจะมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดเดียว เช่น ที่ศูนย์กลางสายส่งข้อมูลหรือที่ Wring Closet ซึ่งง่ายในการ ให้บริการหรือการติดตั้งระบบ อุปกรณ์ 1 ตัว ต่อสายส่งข้อมูล 1 เส้น ทำให้การเสียหายของอุปกรณ์ใดในระบบไม่กระทบต่อการทำงานของจุดอื่น ๆ ในระบบ ใช้โปรโตคอลแบบง่าย ๆ ได้การเชื่อมต่อในระบบที่ใช้โทโปโลยีแบบดาวจะเกี่ยวข้องกันระหว่างศูนย์กลางและอุปกรณ์ที่อีกจุดหนึ่ง เท่านั้น ทำให้การควบคุมการส่งข้อมูลทำได้ง่าย
ข้อเสียของ Star
ความยาวของสายข้อมูล เนื่องจากแต่ละจุดจะต่อโดยตรงกับศูนย์กลางต้องใช้สายส่งข้อมูลจำนวนมาก ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม ขึ้นในการติดตั้งและบำรุงรักษา การขยายระบบทำได้ยาก การเพิ่มจุดใหม่เข้าในระบบ จะต้องเดินสายจากจุดศูนย์กลางออกมา การทำงานขึ้นอยู่กับจุดศูนย์กลาง ถ้าจุดศูนย์กลางเกิดข้อเสียหายขึ้นมาแล้วทั้งระบบก็จะไม่สามารถทำงานได้ Hybrid เป็น Topology ใหม่ที่ผสมผสานรูปแบบของ Star, Ring, และ Bus เข้าด้วยกัน เป็นการลดจุดอ่อน และเพิ่มจุดเด่น ให้กับระบบ มักใช้กับระบบ Wide Network (Wan) และ Enterprise-Wide Network Mash เป็น Topology ที่ถือว่าป้องกันการผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากจะเดินสาย Cable ไปเชื่อมต่อกับ Station ทุก Station โดยเมื่อสายจาก Stattion ใดเกิดมีปัญหาขึ้นก็ยังสามารถใช้สายอื่นที่เหลือก็ได้ ระบบนี้ยากต่อการเดินสายและมีราคา แพงมาก จึงยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก

ระบบ ring
Ring หรือแบบวงแหวน โดย Workstation และ File Server จะถูกเชื่อมต่อกันเป็นวงกลมทำงานโดยส่งข้อมูลผ่านกันทุก Workstation ใดเกิดขัดข้องทั้งระบบจะหยุดการทำงานไปด้วย แต่ข้อเสียก็คือเชื่อมต่อกันได้ระยะทางไกลขึ้น
ข้อดีของ Ring
ใช้สายส่งข้อมูลน้อย ความยาวของสายส่งข้อมูลที่ใช้ใน Topology แบบนี้จะใกล้เคียงกับแบบบัส แต่จะน้อยกว่าของแบบดาว ทำให้เพิ่มความน่าเชื่อถือของระบบได้มากขึ้น ไม่ต้องมีเนื้อหาสำหรับ Wring Closet เพราะว่าสายส่งแต่ละสายจะต่อกับจุดที่อยู่ติดกับมัน เหมาะสมสำหรับเส้นใยแก้วนำแสง การใช้สายส่งข้อมูลแบบใยแก้วนำแสงจะช่วยให้ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูง ข้อมูลในวงแหวน จะเดินทางเดียว ซึ่งง่ายในการใช้สายแบบเส้นใยแก้วนำแสง ในการส่งแต่ละจุดจะเชื่อมกับจุดติดกันด้วยสายส่งข้อมูลทำให้สามารถเลือกได้ว่า จะใช้สายส่งข้อมูลแบบไหนในแต่ละส่วนของระบบ เช่น เลือกใช้สายแบบเส้นใยแก้วนำแสงในส่วนที่ใช้ในโรงงานซึ่งมีปัญหาด้านสัญญาณ ไฟฟ้ารบกวนมาก
ข้อเสียของ Ring
ถ้าจุดหนึ่งจุดใดเสียหายจะทำให้ทั้งระบบไม่สามารถติดต่อกันได้ การส่งข้อมูลบนวงแหวนจะผ่านทุก ๆ จุดในวงแหวนก่อนจะกลับมาหา ผู้ส่ง ถ้าจุดใดเสียหายทั้งระบบก็จะไม่สามารถติดต่อกัน จนกว่าจะเอาจุดที่เสียหายออกจากระบบ ยากในการตรวจสอบข้อผิดพลาด ในการตรวจสอบข้อผิดพลาดอาจต้องทดสอบระหว่างจุดกับจุดถัดไป เพื่อหาดูว่าจุดไหนเสียหาย ซึ่ง การตรวจสอบอาจต้องมีเครื่องมือบางอย่าง
การจัดโครงสร้างระบบใหม่จะยุ่งยาก เมื่อต้องการเพิ่มจุดใหม่เข้าไป เทคโนโลยีแบบวงแหวนมีผลต่อการเลือกใช้วิธีการใช้สายส่งข้อมูล (Line Access Method) แต่ละจุดในวงแหวนจะมีหน้าที่ในการส่ง ข้อมูลที่ได้รับออกไป ซึ่งก่อนจุดใดจะส่งข้อมูลของตนเองออกไปนั้นต้องมั่นใจว่าสายส่งข้อมูลนั้นว่างอยู่

ระบบ Mesh
Mesh คือ รูปแบบการเชื่อมต่อที่ สำหรับแต่ละ Node จะมี Dedicate Links ไปยัง Node อื่นๆ ที่เหลือ มักใช้เป็น Backbone สำหรับเชื่อมต่อกับ Network ที่เป็น Topology อื่น
ข้อดีของ Mesh
ได้แก่ แต่ละ Link รับผิดชอบเพียงอุปกรณ์ 2 ตัว จึงไม่เกิดปัญหา เกี่ยวกับการจัดสรรช่องการสื่อสาร ถ้ามี Link ใดเสียหาย ระบบยังคงสามารถทำงานได้ (Robust) ระบบรักษาความปลอดภัยข้อมูลดี นอกจากนี้ยังสามารถบ่งชี้ตำแหน่งบกพร่องใน Network และแก้ไขได้ง่าย
ข้อเสีย Mesh
ได้แก่ จำนวน I/O Links ทั้งหมดมีค่ามาก nC2 = n (n – 1

ข้อสอบ
1.bus เป็นการเชื่อมต่อแบบใด
ก.เชื่อมต่อแบบตรง
ข.เชื่อมต่อแบบไม่ตรง
ค.เชื่อมต่อแบบโค้ง
ง.ไม่มีข้อถูก

2.star เป็นระบบแบบใด
ก.แบบดาวกลม
ข.แบบดาวธรรมดา
ค.แบบดาวโค้ง
ง.แบบดาว

3.ring เป็นระบบแบบใด
ก.แบบวงแหวน
ข.แบบวงกลม
ค.แบบวงรี
ง.ถูกทุกข้อ

4.แต่ละLink ของ mesh รับผิดชอบเพียงกี่อุปกรณ์
ก.1
ข.2
ค.3
ง.4

5.star ให้บริการหรือการติดตั้งระบบ อุปกรณ์กี่ตัว
ก.1
ข.2
ค.3
ง.4

เฉลย
1.ก 2.ง 3.ก 4.ข 5.1

วันเสาร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2552

IP Address


IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด


ตัวอย่าง IP Address 192.168.0.1


การสื่อสารและรับส่งข้อมูลในระบบ Internet สิ่งสำคัญคือที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ดังนั้นเพื่อให้เกิดความถูกต้องแม่นยำ จึ่ง ได้มีการกำหนดหมายเลขประจำเครื่องที่เราเรียกว่า IP Address และเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนและซ้ำกัน จึงได้มีการก่อตั้งองค์กรเพื่อ แจกจ่าย IP Address โดยเฉพาะ ชื่อองค์กรว่า InterNIC (International Network Information Center) อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา การแจกจ่ายนั้นทาง InterNIC จะแจกจ่ายเฉพาะ Network Address ให้แต่ละเครือข่าย ส่วนลูกข่ายของเครือง ทางเครือข่ายนั้นก็จะเป็น ผู้แจกจ่ายอีกทอดหนึ่ง ดังนั้นพอสรุปได้ว่า IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ

1. Network Address

2. Computer Address


การแบ่งขนาดของเครือข่าย

เราสามารถแบ่งขนาดของการแจกจ่าย Network Address ได้ 3 ขนาดคือ
1.Class A nnn.ccc.ccc.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 1-126) เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากที่สุดถึง 16 ล้านหมายเลข
2.Class B nnn.nnn.ccc.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 128-191) เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากเป็นอันดับสอง คือ 65,000 หมายเลข
3.Class c nnn.nnn.nnn.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 192-233) เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้น้อยที่สุด คือ 256 หมายเลข

nnn หมายถึง Network Address ccc หมายถึง Computer Address

หมายเลขต้องห้าม

เนื่องจากเครือข่ายก็อาจจำเป็นต้องใช้ IP Address ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการจำกัดบางหมายเลขเพื่อใช้เป็นการภายใน ได้แก่
1.Class A ตั้งแต่ 10.xxx.xxx.xxx
2.Class B ตั้งแต่ 172.16.xxx.xxx ถึง 172.31.xxx.xxx
3.Class C ตั้งแต่ 192.168.0.xxx ถึง 192.168.255.xxx

สำหรับภายในองค์กร ก็มีหมายเลขต้องห้ามเช่นกัน ได้แก่
1.127.xxx.xxx.xxx หมายเลขนี้ใช้สื่อสารกับตัวเอง

2.0.0.0.0
แบบทดสอบ
1.IP Address คืออะไร
ก.หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์
ข.หมายเลขของระบบ LAN
ค.หมายเลขของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ง.หมายเลข server
2.หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขกี่ชุด
ก. 2ชุด
ข. 3ชุด
ค. 4ชุด
ง. 5ชุด
3.IPv4 มีกี่บิต
ก. 16 บิต
ข. 32 บิต
ค. 64 บิต
ง.128 บิต
4.หมายเลข IP Address ของ class c เริ่มจากหมายเลขใด
ก. 191-223ข. 191-333
ค. 192-223
ง. 192-240
5.หมายเลข IP Address ของ class B เริ่มจากหมายเลขใด
ก.126-192
ข.126-193
ค.127-191
ง.128-191
6.หมายเลข subnet mask ของ class A คือเท่าไร
ก.255.225.0.0
ข.255.255.0.0
ค.255.0.0.0
ง.255.255.255.0
7.หมายเลข subnet mask ของ class B คือเท่าไร
ก. 255.225.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.225.0
ง. 255.255.255.0
8.หมายเลข subnet mask ของ class c คือเท่าไร
ก.255.0.0.0
ข.255.255.0.0
ค.255.255.255.0
ง.255.255.255.255
9.หมายเลข netและ host ของ class A คืออะไร
ก.H.N.N.N
ข.N.N.N.H
ค.N.H.H.H
ง.N.N.H.H
10.หมายเลข netและ host ของ class c คืออะไร
ก.N.N.N.H
ข.N.N.H.H
ค.H.N.N.N
ง.N.H.H.H
เฉลย
1.ก 2.ค 3.ข 4.ค 5.ง 6.ค 7.ข 8.ค 9. ค 10.ก

Window server 2003


Windows Server 2003
คือแพล็ตฟอร์มที่ช่วยเพิ่มประสิทธิผลให้กับผู้ใช้ ให้มุมมองใหม่ของข่าวสารทางธุรกิจที่สำคัญต่อผู้ใช้ เพื่อจะสามารถทำงานร่วมกัน จัดการ และตอบสนองความเปลี่ยนแปลงในโลกแห่งการแข่งขันได้ดีขึ้น ระบบปฏิบัติการตระกูล Windows Server 2003 ทำให้งานด้าน IT มีประสิทธิภาพสูงขึ้น พร้อมกับช่วยลดค่าใช้จ่าย สำหรับเครือข่ายขนาดเล็ก จนถึงศูนย์ข้อมูลขนาดใหญ่
ระบบปฏิบัติการตระกูล Windows Server 2003 สามารถช่วยให้:
*ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
*แอพพลิเคชั่นได้รับการพัฒนา, นำไปใช้ และทำงานได้ดีขึ้น รวดเร็วขึ้น
*เพิ่มผลการทำงานให้กับทุกส่วนขององค์กร
10 อันดับสุดยอดคุณลักษณะเด่นของ Windows Server 2003 สำหรับองค์กรต่างๆ ที่ได้รับจากการอัพเกรดระบบคอมพิวเตอร์จาก Windows NT Server 4.0
นอกเหนือไปจากคำสัญญาของเราในอันที่จะจัดหา Windows Server ที่มีความเร็วที่สุด เชื่อถือได้มากที่สุด และมีความปลอดภัยที่สุดแล้ว Windows Server 2003 ยังรวมฟังก์ชั่นการทำงานของระบบที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาบริการเว็บที่ชื่อว่า XML และโซลูชั่นเชิงธุรกิจ ซึ่งมีการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ และต่อไปนี้คือลักษณะการทำงานใหม่ที่ได้รับการปรับปรุง เพื่อให้องค์กรใช้เป็นปัจจัยในการพิจารณาอัพเกรดจากระบบ Microsoft Windows NT Server 4.0
1.Active Directory: เพื่อการบริหารข้อมูลผู้ใช้บนเครือข่ายที่มีความซับซ้อนที่ดีขึ้น
บริการ Microsoft Active Directory จะช่วยให้การจัดการสารบบเครือข่ายที่วุ่นวายซับซ้อนให้สามารถทำได้ง่ายขึ้น นอกจากนั้นยังช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถค้นหา ส่วนประกอบหรือข้อมูลใดๆ ที่แม้จะเก็บอยู่ในเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุด ได้ง่ายและรวดเร็วขึ้นระบบนี้สามารถรองรับได้หลากหลายขนาดขององค์กร ซึ่งถูกสร้างโดยอาศัยมาตรฐานทางด้านเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต และรวมทั้งยังรองรับระบบปฏิบัติการได้ทั้ง Windows Server 2003 Standard Edition, Windows Server 2003 Enterprise Edition และ Windows Server 2003 Datacenter Edition Windows Server 2003 ยังได้มีการปรับปรุง Active Directory ให้มีความง่ายต่อการใช้งานมากขึ้นและมีคุณสมบัติพิเศษเพิ่มขึ้น รวมทั้งการสร้าง Trusts ข้ามกันระหว่าง Forest, ความสามารถในการเปลี่ยนชื่อของ Domain, และความสามารถในการยับยั้งการใช้งาน attributes และ class ภายใน schema เพื่อให้สามารถเปลี่ยนคำนิยามของคุณสมบัติเหล่านั้นได้
2.Group Policy: Group Policy Management Console: สร้างนโยบายรวมศูนย์เพื่อบริหารการใช้ซอฟท์แวร์ของทั้งเครือข่ายที่ดีและปลอดภัยขึ้นผู้จัดการระบบสามารถใช้ Group Policy เพื่อกำหนดค่าต่างๆและกำหนดสิทธิ์ให้กับทั้งตัวผู้ใช้งานและเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อแตกต่างระหว่าง Group Policy และ local policy คือผู้จัดการระบบสามารถใช้ Group Policy เพื่อกำหนดนโยบายที่จะใช้ร่วมกันระหว่าง site ที่ตั้ง โดเมน หรือหน่วยที่รวบรวมขึ้นใน active directory ได้ การจัดการแบบใช้นโยบายเป็นหลักนี้ จะช่วยทำให้งานต่างๆ ดังต่อไปนี้ทำได้ง่ายขึ้น : การปรับปรุงระบบ การติดตั้งโปรแกรม ข้อมูลของผู้ใช้งาน และ desktop-system lockdownGroup Policy Management Console (GPMC) ซึ่งเป็นส่วนเพิ่มเติมในวินโดวส์ 2003 นั้นจะช่วยให้เกิดรูปแบบการทำงานใหม่ในการจัดการ Group Policy กล่าวคือทำให้ผู้ใช้งานสามารถใช้ระบบ Group Policy ได้ง่ายขึ้น และจะมีประโยชน์ในแง่ที่ช่วยให้องค์กรสามารถใช้ Active directory ได้ดียิ่งขึ้น และยังนำข้อดีของการจัดการข้อมูลที่มีประสิทธิภาพมาช่วยพัฒนาองค์กรได้อีกด้วย
3.ประสิทธิภาพการทำงานของ Server (Server Performance): อย่างน้อย 2 เท่าจาก Windows NT Server 4.0จากผลการทดสอบบน Windows Server 2003 ได้แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพการทำงานที่ดีมากยิ่งกว่าเวอร์ชั่นเก่าๆ ที่ผ่านมา ตัวอย่างเช่น ไฟล์ข้อมูล และ Web Server มีความเร็วในการทำงานเป็นสองเท่าของ Windows NT Server 4.0 และขณะที่ประสิทธิภาพการทำงานภายในองค์กรของคุณ มีความแตกต่างกันในแต่ละหน่อยงาน เนื่องจากการกำหนดค่าต่างๆ ของ Network และคอมพิวเตอร์หลากหลายแบบ ทางไมโครซอฟท์เชื่อมั่นว่าการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานของ Windows Server 2003 จะช่วยให้คุณสามารถทำงานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น
4.การกู้ข้อมูลคืน โดยใช้เครื่องมือ Volume Shadow Copy: เพื่อบริหารการลบและกู้คืนไฟล์ที่ดีขึ้นคุณลักษณะเด่นนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งในบริการ Volume Shadow Copy Service ซึ่งสามารถช่วยให้ผู้จัดการระบบสามารถปรับแต่งโปรแกรมเพื่อให้ระบบสามารถ copy ข้อมูลที่มีความสำคัญต่อองค์กรได้ในทันที โดยที่ไม่มีการขัดจังหวะจากการหยุดทำงานของระบบแต่อย่างใด ซึ่งสำเนาข้อมูลต่างๆ เหล่านี้นับได้ว่ามีประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน เมื่อต้องการเรียกข้อมูลคืน และการจัดเก็บข้อมูลเข้าแฟ้มข้อมูลถาวร เนื่องจากผู้ใช้งานสามารถเรียกข้อมูลในแฟ้มข้อมูลถาวรซึ่งอยู่บน Server นั้นมาใช้งานได้ตลอดเวลา วิธีการกู้ไฟล์คืนที่ดีขึ้นกว่าระบบเก่านี้จึงถือว่าเป็นการเพิ่มประสิทธิผลให้กับองค์กรได้เป็นอย่างดีทีเดียว
5.Internet Information Service 6.0 และ Microsoft .NET Framework: เพิ่มความเร็วของ Web Application โดยรวมและความหลากหลายในการพัฒนา ApplicationInternet Information Service (IIS) 6.0 เป็น Web Server ที่มีฟังก์ชั่นการใช้งานที่ครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถช่วยในการทำงานของ Web Application และบริการ XML Web service ได้ดี IIS 6.0 ได้รับการออกแบบโดยผ่านกระบวนการที่เรียกว่า Fault-tolerant process ซึ่งนับว่าเป็นการช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือของเว็บไซต์ และ Web Application ได้อย่างมากทีเดียวปัจจุบันนี้ IIS สามารถแยกออกมาจาก Web Application ต่างๆ กลายเป็นโปรแกรมที่สามารถจัดการงานต่างๆ ได้ด้วยตัวเอง หรือที่เราเรียกว่า Application Pool โดยมีการทำงานร่วมกับระบบปฏิบัติการโดยตรง คุณลักษณะเช่นนี้จะช่วยเพิ่มปริมาณงานต่อหน่วยเวลาและความสามารถของระบบให้มากขึ้น และในขณะเดียวกันก็ช่วยเพิ่มพื้นที่ว่างใน Server ให้มากขึ้นด้วย ประโยชน์ที่เห็นได้ชัดจาก application pool นี้คือช่วยลดความต้องการในการใช้ฮาร์ดแวร์ขององค์กรให้น้อยลง นอกจากนั้น Application Pool นี้ยังช่วยป้องกันไม่ให้โปรแกรม หรือ site อื่นๆ ถูก รบกวนจาก XML web service หรือโปรแกรมเว็บต่างๆ บน Server ได้อีกด้วยIIS ยังมีความสามารถในการค้นหา, กู้ข้อมูล, และป้องกันการล่มของ Web Application ซึ่งบนระบบ Microsoft ASP.NET บน Windows Server 2003 นั้น ได้มีการใช้งานบนโครงสร้าง IIS แบบใหม่นี้ ซึ่งคุณสมบัติเกี่ยวที่ล้ำสมัยเหล่านี้สามารถใช้ร่วมกับ Applications ที่มีอยู่เดิมซึ่งทำงานภายใต้ไม่ว่าจะเป็น IIS 4.0 และ IIS 5.0 ก็ตาม โดยที่ไม่ต้องมีการแก้ไขส่วนโครงสร้างใดๆ ก็ตามของ Applicationsโปรแกรม .NET Framework ประกอบด้วยโปรแกรมที่ใช้สำหรับสร้าง แปลง และดำเนินงาน Web Application และ XML Web Services บน Platform นอกจากนั้นโปรแกรม .NET Framework นี้ยังประกอบด้วยปัจจัยแวดล้อมที่มีประโยชน์ มีความเป็นมาตรฐาน และรองรับการสร้างแอพพลิเคชั่นจากหลายภาษา เพื่อช่วยในการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์เดิมที่มีอยู่แล้วเข้ากับโปรแกรมและบริการใหม่ๆ ให้ได้ผลดี เช่นเดียวกันกับที่ช่วยให้โปรแกรม Internet-scale สามารถส่งข้อมูล และดำเนินการทำงานได้รวดเร็วมากขึ้น การปรับรูปแบบของโปรแกรมเก่าที่มีอยู่เดิมแล้วนั้นสามารถทำได้ง่ายเช่นเดียวกันกับการ integrate และการ migrate ระบบ XML Web services และโปรแกรม UNIX ไปยังเครื่องมืออื่นที่มีปริมาณงานน้อยกว่าได้เช่นกัน
6.Terminal Services: รันโปรแกรมโดยอาศัยทรัพยากรของเซอร์ฟเวอร์ผ่านหน้าจอของ Clientคุณลักษณะของ Terminal service นี้ ช่วยให้ผู้จัดการระบบสามารถส่งโปรแกรม ซึ่งมีหลักการทำงานบน Windows (Window-based application) หรือที่เรารู้จักว่าเป็น desktop ของ Windows ไปยังอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ รวมทั้งโปรแกรมอื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่บน Windows ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อผู้ใช้งานเริ่มใช้โปรแกรมบน Terminal server โปรแกรมนั้นจะมีการทำงานบน Server ในขณะที่การใช้งานของคีย์บอร์ด เม้าส์ และข้อมูลแสดงผลจะถูกส่งไปยังเนตเวิร์ค ผู้ใช้งานจะเห็นเฉพาะ Desktop ที่เป็นของผู้ใช้งานเองเท่านั้น และมีการทำงานแยกกันอย่างเด็ดขาดกับ client อื่นคุณลักษณะสำหรับผู้จัดการระบบซึ่งเรียกว่า Remote Desktop นี้มีการสร้างขึ้นบนการจัดการระบบทางไกลของ Windows 2000 Terminal Services นอกจาก virtual session สอง sessions ที่เป็นการจัดการระบบทางไกลบน Windows 2000 Terminal Services แล้ว ผู้จัดการระบบยังสามารถทำงานต่อเข้ากับส่วนควบคุมของ Server ได้แบบทางไกลด้วย Terminal Server สามารถปรับปรุงและเพิ่มความสามารถของการส่งข้อมูลซอฟท์แวร์ในสถานการณ์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ซึ่งคุณลักษณะนี้ยังคงเป็นปัญหาในการใช้โปรแกรมเก่าอยู่ทุกวันนี้
7.Clustering (Eight-Node Support): สร้างกลุ่มเซอร์ฟเวอร์ เพื่อการให้บริการที่ไม่ขาดตอนคุณลักษณะนี้ปรากฏอยู่บน Windows Server 2003, Enterprise Edition และ Windows Server 2003, Datacenter Edition เท่านั้น โดยเน้นความสำคัญไปที่โปรแกรมจัดการงานต่างๆ เช่น ระบบฐานข้อมูล ระบบรับ-ส่งข้อความ และบริการจัดเก็บข้อมูลและพิมพ์เอกสาร การทำงานแบบ Clustering นี้มีการทำงานของ Server หรือ nodes หลายตัว เพื่อช่วยรักษาการทำงานให้คงที่ไม่ขาดตอน โดยหาก Node ใด Node หนึ่งใน Cluster ไม่สามารถใช้งานได้เนื่องจากความผิดพลาดของการซ่อมแซมเครื่องคอมพิวเตอร์ node อื่นๆ จะสามารถทำงานแทนได้ในทันที ซึ่งขั้นตอนนี้รู้จักกันดีว่าเป็น “Failover” ผู้ใช้งานซึ่งกำลังใช้งานอยู่จะสามารถทำงานต่อไปได้ โดยไม่รู้สึกถึงการเปลี่ยนแปลงของ node ที่ช่วยทำงานแทนแต่อย่างใดทั้ง Windows Server 2003 Enterprise Edition และ Windows Server 2003 Datacenter Edition นี้ช่วยให้การติดตั้ง server cluster สามารถทำได้สูงถึง 8 nodes เลยทีเดียว
8.การ integrate ของโปรแกรม PKI Support โดยใช้ Kerberos เวอร์ชั่น 5องค์กรของคุณสามารถใช้งาน Public Key Infrastructure (PKI) ได้ โดยใช้บริการ Certificate และเครื่องมือช่วยจัดการ Certificate และด้วย PKI นี้เอง ผู้จัดการระบบจะสามารถติดตั้งเทคโนโลยีแบบ standard-based ได้ตัวอย่างเช่น การ logon สมาร์ทการ์ด, การยืนยันผู้ใช้งานผ่านทาง Secure Sockets Layer และ Transport Layer Security, Email Protect, Digital Signature และความปลอดภัยของเครือข่ายโดยใช้ Internet Protocol Security (IPSec)นอกจากนั้นแล้ว ด้วยบริการ Certificate นี้ ผู้จัดการระบบสามารถติดตั้งระบบ และบริหารสิทธ์ใน Certification ทั้งการมอบและการเรียก X.509 V3 certificate กลับคืนได้ ซึ่งนั่นหมายถึงองค์กรของคุณไม่จำเป็นต้องใช้ระบบยืนยันที่ผู้ใช้งานอีกต่อไป แม้ว่าจะมีการ integrate ระบบยืนยันที่ผู้ใช้งานนั้น PKI ขององค์กรแล้วก็ตาม Kerberos เวอร์ชั่น 5 เป็นเนตเวิร์คโพรโทคอลแบบ industry-standard ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็วด้วยการ logon เพียงครั้งเดียว แต่สามารถเข้าใช้งาน resource ได้หลาย resources รวมถึง environment อื่นๆ ที่สนับสนุนระบบนี้ ประโยชน์อื่นๆของ Kerberos เวอร์ชั่น 5 ยังรวมถึง mutual authentication ซึ่งทั้งผู้ใช้งานและ Server ต้องทำงานยืนยันหรือตรวจสอบซึ่งกันและกัน และ delegated authentication ซึ่งเป็นการยืนยันผู้ใช้งานโดยมีการตรวจสอบประวัติและข้อมูลของผู้ใช้งานอย่างละเอียด
9.การจัดการ Command-Line: สำหรับผู้ที่คุ้นเคยกับระบบปฏิบัติการ UNIX หรือ LinuxWindows Server 2003 ยังเสนอคุณลักษณะสำคัญอีกประการหนึ่งคือ Command-Line Infrastructure ซึ่งช่วยให้ผู้จัดการระบบสามารถดำเนินงานในเชิงบริหารจัดการต่างๆ ได้ดีโดยไม่จำเป็นต้องใช้ user interface เชิงกราฟแต่อย่างใด และที่พิเศษไปกว่านั้นคือคุณลักษณะแบบ Command-Line นี้สามารถช่วยในทำงานที่มีลักษณะงานแตกต่างกันได้ดี โดยใช้วิธีการเข้าไปยังส่วนเก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Windows Management Instrumentation (WMI)WMI Command-Line หรือ WMIC นี้ยังมีการ interface กับระบบ Simple Command-Line ซึ่งจะช่วยในการทำงานร่วมกันกับโปรแกรมสนับสนุนตัวอื่นๆ และคำสั่ง utility อื่นๆ อีกด้วย นอกจากนั้นแล้ว WMIC ยังสามารถเพิ่มเติมฟังก์ชั่นการใช้งานได้ง่ายๆ ด้วย script หรือโปรแกรม administration-oriented อื่นๆ เมื่อรวมกับ script ที่พร้อมใช้งานแล้ว ฟังก์ชั่นการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นของ Command-Line ใน Windows Server 2003 จะสามารถแข่งขันได้กับระบบปฏิบัติการอื่นๆ ที่มีราคาค่อนข้างสูงกว่าได้เป็นอย่างดี ผู้จัดการระบบที่เคยใช้งานระบบ Command-Line เพื่อจัดการระบบ UNIX หรือ Linux จะสามารถใช้งาน Command-Line บน Windows Server 2003 ได้อย่างดีทีเดียว
10.Intelligent File Services: Encrypting File System, Distributed File System, และ File Replication Service: เพื่อการบริหารไฟล์จำนวนมากมหาศาลในองค์กรที่ง่ายขึ้นEncrypting File System – EFS จะช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถตั้งรหัสและถอดรหัสการใช้งานไฟล์ข้อมูล เพื่อเป็นการป้องกันข้อมูลเหล่านั้นจากผู้ที่พยายามเข้ามาใช้งานข้อมูลดังกล่าวอย่างไม่ถูกต้อง เช่น ขโมยเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา หรือขโมย external disk (drive)การทำ Encryption นี้ ผู้ใช้งานยังคงใช้งานไฟล์ข้อมูลหรือแฟ้มข้อมูลที่มีการทำ encryption ไว้ได้เหมือนกับใช้งานไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลอื่นๆ และหากผู้ใช้งาน EFS เป็นบุคคลเดียวกันกับผู้ทำ encrypt ไว้ ระบบจะทำการถอดรหัสไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลนั้นให้โดยอัตโนมัติ เมื่อผู้ใช้งานเข้าไปใช้งานไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลนั้นภายหลัง Distributed File System – DFS ช่วยในการบริหาร resource ของดิสก์ที่ใช้ร่วมกันบนเนตเวิร์ค ผู้จัดการระบบจะทำการตั้งชื่อ logical name ให้กับไดรฟ์ที่ใช้ร่วมกันบนเนตเวิร์ค แทนที่จะให้ผู้ใช้งานต้องเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อแบบ physical name ของ Server แต่ละเครื่องที่ผู้ใช้งานต้องการเข้าไปทำงานFile Replication Service – FRS เป็นโปรแกรมที่ได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพดีกว่าคุณลักษณะ Directory Replication บน Windows NT Server 4.0 ในหลายๆ ด้าน ตัวอย่างเช่น FRS จะมีการ replicate จากไฟล์หลักได้ครั้งละหลายไฟล์สำหรับ directory tree ซึ่งอยู่บน Server ที่สร้างขึ้น นอกจากนั้น DFS ยังใช้ FRS เพื่อปรับข้อมูลระหว่างไฟล์ข้อมูลที่ replicate มาด้วยกันเองโดยอัตโนมัติ อีกทั้ง Active Directory ยังใช้ FRS ในการปรับข้อมูลจาก system volume information ไปยังหน่วยควบคุมโดเมนให้ตรงกันด้วย
คุณสมบัติ Windows Server 2003
มีคุณสมบัติทั้งหมดที่มีใน Standard Edition และได้เพิ่มคุณสมบัติที่สำคัญหลายประการ เพื่อช่วย เพิ่มความต่อเนื่องในการให้บริการ, ความสามารถใน การขยายระบบ และความเชื่อถือได้คุณสมบัติที่ สำคัญได้แก่ บริการคลัสเตอร์ เพื่อให้การจัดการฐาน ข้อมูล, การใช้ไฟล์ร่วมกัน, การใช้ข้อมูลร่วมกันผ่าน อินทราเน็ต, การส่งข่าวสาร และแอพพลิเคชั่นทาง ธุรกิจที่สำคัญ สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง และทนทานต่อความผิดพลาด โดยบริการคลัสเตอร์ของ Windows Server 2003 Enterprise Edition สนับสนุนคลัสเตอร์แบบ 8-node จึงเพิ่มความยืดหยุ่นในการเพิ่มหรือลดฮาร์ดแวร ์ในสภาพแวดล้อมคลัสเตอร์แบบกระจาย ขณะเดียวกัน ก็เป็นโซลูชั่นสำหรับการกู้ระบบที่ดีขึ้นกว่าเดิม
การติดตั้ง Windows2003 Server
การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 2003 Serverวิธีการติดตั้ง Windows 2003 server ยังสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบดังนี้
1. ติดตั้งแบบอัพเกรดจาก Windows ตัวเดิม โดยใส่แผ่น CD และเลือกติดตั้งจาก CD นั้นได้เลย
2. ติดตั้งโดยการบูตเครื่องใหม่จาก CD ของ Windows 2003 Server Setup และทำการติดตั้ง
3. ติดตั้งจากฮาร์ดดิสก์ โดยทำการ copy ไฟล์ทั้งหมดจาก CD ไปเก็บไว้ในฮาร์ดดิสก์ ก่อนทำการติดตั้งมาดูขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้น การติดตั้ง Windows 2003เริ่มต้น โดยการเซ็ตให้บูตเครื่องจาก CD-Rom Drive ก่อน โดยการเข้าไปปรับตั้งค่าใน bios ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเลือกลำดับการบูต ให้เลือก CD-Rom Drive เป็นตัวแรกครับ ซึ่งวิธีการนี้จะเหมือนกับการลง Windows XP ทุกอย่างเลยนะครับ ฉะนั้นผมจึงจะขอข้ามขั้นตอนนี้ไปเลย เพื่อความรวดเร็ว แต่ถ้าหากท่านยังไม่เข้าก็ขอให้กลับไปดูในหน้า วิธีการลง WindowsXP ได้เลยนะครับ (ถ้าหากเป็นแบบนี้อยู่แล้ว ก็ไม่ต้องเปลี่ยนอะไร)
แบบทดสอบ
1.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 (Windows Server 2003)เป็นรุ่นถัดจากรุ่นใด
ก.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2000
ข.วินโดวส์ xp
ค.วินโดวส์ 95
ง.วินโดวส์ Mobile
2.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 ได้ออกเมื่อใด
ก.วันที่ 28 เมษายนพ.ศ.2547
ข.วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2547
ค.วันที่28 มีนาคม พ.ศ. 2457
ง.วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2457
3.ระบบปฏิบัติการตระกูล Windows Server 2003 มีส่วนช่วยหลายๆอย่างยกเว้นข้อใด
ก.เพิ่มผลการทำงานให้กับทุกส่วนขององค์กร
ข.ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ค.แอพพลิเคชั่นได้รับการพัฒนา, นำไปใช้ และทำงานได้ดีขึ้น รวดเร็วขึ้น
ง.เพิ่มงานให้แก่องค์กร
4.ข้อใดไม่ใช่บริการของบริการคลัสเตอร์
ก.การจัดการฐาน ข้อมูล
ข.การใช้ข้อมูลร่วมกันผ่านอินทราเน็ต
ค.การใช้ไฟล์ร่วมกัน
ง.การทำธุรกิจร่วมกัน
5.การติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 2003 Serverแบ่งออกเป็นกี่แบบ
ก. 1แบบ
ข. 2แบบ
ค. 3แบบ
ง. 4แบบ
6.การเซ็ตให้บูตเครื่องจาก CD-Rom Drive ก่อน โดยการเข้าไปปรับตั้งค่าใน ในอะไรของเครื่องคอมพิวเตอร์
ก.CPU
ข.RAM
ค.bios
ง.Rom
7.Windows Server 2003 ได้รวมฟังก์ชั่นการทำงานของระบบที่มีประสิทธิภาพในการพัฒนาบริการเว็บที่ชื่อว่า
อะไร
ก.LMX
ข.XML
ค.MXL
ง.XLM
8.Active Directory หมายถึงอะไร
ก.การบริหารข้อมูลผู้ใช้บนเครือข่ายที่มีความซับซ้อนที่ดีขึ้น
ข.สร้างนโยบายรวมศูนย์เพื่อบริหารการใช้ซอฟท์แวร์ของทั้งเครือข่ายที่ดีและปลอดภัยขึ้น
ค.ประสิทธิภาพการทำงานของ Server
ง.บริหารการลบและกู้คืนไฟล์ที่ดีขึ้น
9.Terminal Services หมายถึงอะไร
ก.การให้บริการที่ไม่ขาดตอน
ข.การรันโปรแกรมโดยอาศัยทรัพยากรของเซอร์ฟเวอร์ผ่านหน้าจอของ Client
ค.การบริหารไฟล์จำนวนมากมหาศาลในองค์กรที่ง่ายขึ้น
ง.การกู้ข้อมูลคืน โดยใช้เครื่องมือ
10.ในปีพ.ศ. 2548 ไมโครซอฟท์ได้ประกาศ วินโดวส์เซิฟเวอร์ใดวินโดวส์
ก.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ ลองฮอร์น
ข.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003
ค.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2000
ง.วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ โลฮอร์น
เฉลย
1. ก 2.ข 3. ง 4.ง 5. ค 6. ค 7. ข 8.ก 9.ข 10. ก

วันศุกร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2552

ระบบเคริอข่าย

"ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือระบบเน็ตเวิร์ก คือกลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ถูกนำมาเชื่อมต่อกันเพื่อให้ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายร่วมกันได้" เครือข่ายนั้นมีหลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์เพียงสองสามเครื่อง เพื่อใช้งานในบ้านหรือในบริษัทเล็กๆ ไปจนถึงเครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก ส่วน Home Network หรือเครือข่ายภายในบ้าน ซึ่งเป็นระบบ LAN ( Local Area Network) ที่คุณผู้อ่านจะได้พบต่อไปนี้ เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กๆ หมายถึงการนำเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ มาเชื่อมต่อกันในบ้าน สิ่งที่เกิดตามมาก็คือประโยชน์ในการใช้คอมพิวเตอร์ด้านต่างๆ เช่น




1. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน หมายถึง การใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องพิมพ์ร่วมกัน กล่าวคือ มีเครื่องพิมพ์เพียงเครื่องเดียว ทุกคนในเครือข่ายสามารถใช้เครื่องพิมพ์นี้ได้ ทำให้สะดวกและประหยัดค่าใช้จ่าย เพราะไม่ต้องลงทุนซื้อเครื่องพิมพ์หลายเครื่อง (นอกจากจะเป็นเครื่องพิม์คนละประเภท)


2. การแชร์ไฟล์ เมื่อคอมพิวเตอร์ถูกติดตั้งเป็นระบบเน็ตเวิร์กแล้ว การใช้ไฟล์ข้อมูลร่วมกันหรือการแลกเปลี่ยนไฟล์ทำได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ไม่ต้องอุปกรณ์เก็บข้อมูลใดๆ ทั้งสิ้นในการโอนย้ายข้อมูลตัดปัญหาเรื่องความจุของสื่อบันทึกไปได้เลย ยกเว้นอุปกรณ์ในการจัดเก็บข้อมูลหลักอย่างฮาร์ดดิสก์ หากพื้นที่เต็มก็คงต้องหามาเพิ่ม


3. การติดต่อสื่อสาร โดยคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเป็นระบบเน็ตเวิร์ก สามารถติดต่อพูดคุยกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น โดยอาศัยโปรแกรมสื่อสารที่มีความสามารถใช้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ได้เช่นเดียวกัน หรือการใช้อีเมล์ภายในก่อให้เครือข่าย Home Network หรือ Home Office จะเกิดประโยชน์นี้อีกมากมาย4. การใช้อินเทอร์เน็ตร่วมกัน คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อในระบบ เน็ตเวิร์ก สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ทุกเครื่อง โดยมีโมเด็มตัวเดียว ไม่ว่าจะเป็นแบบอนาล็อกหรือแบบดิจิตอลอย่าง ADSL ยอดฮิตในปัจจุบัน



ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร สถาบันการศึกษาและบ้านไปแล้วการใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ทั้งไฟล์ เครื่องพิมพ์ ต้องใช้ระบบเครือข่ายเป็นพื้นฐาน ระบบเครือข่ายจะหมายถึง การนำคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกันเพื่อจะทำการแชร์ข้อมูล และทรัพยากรร่วมกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลและเครื่องพิมพ์ ระบบเครือข่ายสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ด้วยกันคือ


1. LAN (Local Area Network)ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่น เป็นเน็ตเวิร์กในระยะทางไม่เกิน 10 กิโลเมตร ไม่ต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ คือจะเป็นระบบเครือข่ายที่อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรือต่างอาคาร ในระยะใกล้ๆ


2. MAN (Metropolitan Area Network)ระบบเครือข่ายเมือง เป็นเน็ตเวิร์กที่จะต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นการติดต่อกันในเมือง เช่น เครื่องเวิร์กสเตชั่นอยู่ที่สุขุมวิท มีการติดต่อสื่อสารกับเครื่องเวิร์กสเตชั่นที่บางรัก


3. WAN (Wide Area Network)ระบบเครือข่ายกว้างไกล หรือเรียกได้ว่าเป็น World Wide ของระบบเน็ตเวิร์ก โดยจะเป็นการสื่อสารในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลก จะต้องใช้มีเดีย(Media) ในการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย (คู่สายโทรศัพท์ dial-up / คู่สายเช่า Leased line / ISDN) (lntegrated Service Digital Network สามารถส่งได้ทั้งข้อมูล เสียง และภาพในเวลาเดียวกัน)


ประเภทของระบบเครือข่าย


Peer To Peer

เป็นระบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนระบบเครือข่ายมีฐานเท่าเทียมกัน คือทุกเครื่องสามารถจะใช้ไฟล์ในเครื่องอื่นได้ และสามารถให้เครื่องอื่นมาใช้ไฟล์ของตนเองได้เช่นกัน ระบบ Peer To Peer มีการทำงานแบบดิสทริบิวท์(Distributed System) โดยจะกระจายทรัพยากรต่างๆ ไปสู่เวิร์กสเตชั่นอื่นๆ แต่จะมีปัญหาเรื่องการรักษาความปลอดภัย เนื่องจากข้อมูลที่เป้นความลับจะถูกส่งออกไปสู่คอมพิวเตอร์อื่นเช่นกันโปรแกรมที่ทำงานแบบ Peer To Peer คือ Windows for Workgroup และ Personal Netware



Client / Server
เป็นระบบการทำงานแบบ Distributed Processing หรือการประมวลผลแบบกระจาย โดยจะแบ่งการประมวลผลระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์กับเครื่องไคลเอ็นต์ แทนที่แอพพลิเคชั่นจะทำงานอย ู่เฉพาะบนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ก็แบ่งการคำนวณของโปรแกรมแอพพลิเคชั่น มาทำงานบนเครื่องไคลเอ็นต์ด้วย และเมื่อใดที่เครื่องไคลเอ็นต์ต้องการผลลัพธ์ของข้อมูลบางส่วน จะมีการเรียกใช้ไปยัง เครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้นำเฉพาะข้อมูลบางส่วนเท่านั้นส่งกลับ มาให้เครื่องไคลเอ็นต์เพื่อทำการคำนวณข้อมูลนั้นต่อไป


รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย LAN Topology
ระบบ Bus การเชื่อมต่อแบบบัสจะมีสายหลัก 1 เส้น เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งเซิร์ฟเวอร์ และไคลเอ็นต์ทุกเครื่องจะต้องเชื่อมต่อสายเคเบิ้ลหลักเส้นนี้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกมองเป็น Node เมื่อเครื่องไคลเอ็นต์เครื่องที่หนึ่ง (Node A) ต้องการส่งข้อมูลให้กับเครื่องที่สอง (Node C) จะต้องส่งข้อมูล และแอดเดรสของ Node C ลงไปบนบัสสายเคเบิ้ลนี้ เมื่อเครื่องที่ Node C ได้รับข้อมูลแล้วจะนำข้อมูล ไปทำงานต่อทันที


แบบ Ring การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชื่อมต่อจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง จนครบวงจร ในการส่งข้อมูลจะส่งออกที่สายสัญญาณวงแหวน โดยจะเป็นการส่งผ่านจากเครื่องหนึ่ง ไปสู่เครื่องหนึ่งจนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง ปัญหาของโครงสร้างแบบนี้คือ ถ้าหากมีสายขาดในส่วนใดจะทำ ให้ไม่สามารถส่งข้อมูลได้ ระบบ Ring มีการใช้งานบนเครื่องตระกูล IBM กันมาก เป็นเครื่องข่าย Token Ring ซึ่งจะใช้รับส่งข้อมูลระหว่างเครื่องมินิหรือเมนเฟรมของ IBM กับเครื่องลูกข่ายบนระบบ

แบบ Star การเชื่อมต่อแบบสตาร์นี้จะใช้อุปกรณ์ Hub เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อ โดยที่ทุกเครื่องจะต้องผ่าน Hub สายเคเบิ้ลที่ใช้ส่วนมากจะเป้น UTP และ Fiber Optic ในการส่งข้อมูล Hub จะเป็นเสมือนตัวทวนสัญญาณ (Repeater) ปัจจุบันมีการใช้ Switch เป็นอุปกรณ์ในการเชื่อมต่อซึ่งมีประสิทธิภาพการทำงานสูงกว่า


แบบ Hybrid เป็นการเชื่อมต่อที่ผสนผสานเครือข่ายย่อยๆ หลายส่วนมารวมเข้าด้วยกัน เช่น นำเอาเครือข่ายระบบ Bus, ระบบ Ring และ ระบบ Star มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน เหมาะสำหรับบางหน่วยงานที่มีเครือข่ายเก่าและใหม่ให้สามารถทำงานร่วมกันได้ ซึ่งระบบ Hybrid Network นี้จะมีโครงสร้างแบบ Hierarchical หรือ Tre ที่มีลำดับชั้นในการทำงาน



เครือข่ายแบบไร้สาย ( Wireless LAN) อีกเครือข่ายที่ใช้เป็นระบบแลน (LAN) ที่ไม่ได้ใช้สายเคเบิลในการเชื่อมต่อ นั่นคือระบบเครือข่ายแบบไร้สาย ทำงานโดยอาศัยคลื่นวิทยุ ในการรับส่งข้อมูล ซึ่งมีประโยชน์ในเรื่องของการไม่ต้องใช้สายเคเบิล เหมาะกับการใช้งานที่ไม่สะดวกในการใช้สายเคเบิล โดยไม่ต้องเจาะผนังหรือเพดานเพื่อวางสาย เพราะคลื่นวิทยุมีคุณสมบัติในการทะลุทะลวงสิ่งกีดขวางอย่าง กำแพง หรือพนังห้องได้ดี แต่ก็ต้องอยู่ในระยะทำการ หากเคลื่อนย้ายคอมพิวเตอร์ไปไกลจากรัศมีก็จะขาดการติดต่อได้ การใช้เครือข่ายแบบไร้สายนี้ สามารถใช้ได้กับคอมพิวเตอร์พีซี และโน๊ตบุ๊ก และต้องใช้การ์ดแลนแบบไร้สายมาติดตั้ง รวมถึงอุปกรณ์ที่เรียกว่า Access Point ซึ่งเป็นอุปกรณ์จ่ายสัญญาณสำหรับระบบเครือข่ายไร้สาย มีหน้าที่รับส่งข้อมูลกับการ์ดแลนแบบไร้สาย

แบบทดสอบ
1.ระบบเครือข่ายระบบหนึ่งอาจประกอบไปด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่กี่เครื่องขึ้นไป
ก.1 เครื่องข.2 เครืองค.3 เครื่องง. 5 เครื่อง

2.ระบบเครือข่ายโดยทั่วไปมี 3 แบบ ดังนี้ยกเนข้อใด
ก. Local Area Network (LAN)ข. Metropolitan Area Network (MAN)ค. Wide Area Networks (WANs)ง. Token-passing (NAN)

3.Local Area Network (LAN) เป็นการเชื่อมแบบใดต่อไปนี้ก.เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายขนาดเล็ก ในพื้นที่ไม่ใหญ่มากนักข.เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายที่มีขนาดทางภูมิศาสตร์ที่ใหญ่ขึ้นกว่า LANค.เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายที่มีขนาดทางภูมิศาสตร์ที่ใหญ่ขึ้นกว่าแบบ MAN

4.ลักษณะการต่อสาย LAN หรือที่เรียกกันว่า topology โดยทั่วไปมี กี่แบบ
ก. 2แบบข.3แบบค.4แบบง.5แบบ
5.การต่อสาย lanแบบ STAR หรือเรียกว่าแบบดาว มีละกษณะการต่อแบบใดต่อไปนี้
ก.การต่อเครื่องคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อต่อที่เรียกว่า HUBข.เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับสายสัญาณหลักที่อยู่ตรงกลางค.เป็นการเชื่อมต่อแบบร้อยต่อกันเป็นวงผ่านทุกเครื่องในระบบจนครบ
6. โครงสร้างของระบบเครือข่ายทั้งหมดมีกี่แบบ
ก. 2แบบข. 3แบบค. 4แบบง. 5แบบ
7.โครงสร้างแบบบัส (Bus Network)มีลักษณะอย่างไร
ก.การเชื่อมต่อจะเป็นแบบอนุกรม โดยใช้สายเคเบิลเส้นเดียว ลากต่อกันไปข.เป็น การเชื่อมต่อคล้ายๆดาวกระจายคือจะมีอุปกรณ์เช่น ฮับ หรือสวิทช์ เป็นศูนย์กลางค.เป็นการเชื่อมต่อกันให้มีขนาดใหญ่ขึ้นง.เป็นการเชื่อมต่อที่ใช้คลื่นวิทยุในการรับส่งข้อมูล
8. โครงสร้างแบบริง (Ring Network) ลักษณะการเชื่อมต่อจะเป็นลักษณะใด
ก.แบบวงกลมข.แบบทวนเข็มนาฬิกาค.แบบตรงง.แบบวงแหวน
9.MAN ( Metropolitan Area Network )เป็นเครือข่ายระดับใด
ก.ระดับจังหวัดข.ระดับองค์กรค.ระดับเมืองง.ระดับประเทศ
10.WAN (Wide Area Network )เป็นเครือข่ายระดับใด
ก.ระดับองค์กรข.ระดับจังหวัดค.ระดับเมืองง.ระดับจังหวัดและระดับประเทศ
เฉลย
1.ข 2.ง 3.ค 4.ข 5.ก 6.ค 7.ก 8.ง 9.ค 10. ง

วันจันทร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2551

ค่ำสั่งอื่นๆ

1.คำสั่งAt
- ตั้งเวลารันกลุ่มคำสั่ง
2.คำสั่งcpio
-ต้องการชื่อเต็ม (full pathname) ดังนั้นถ้าผู้ใช้ทำการอ้างชื่อ ไดเรกทอรีปลายทางแบบ relative
3.คำสั่งbc
-คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linux
4.คำสั่งbasename
-เป็นคำสั่งสำหรับสกัดเอาชื่อไฟล์ไฟล์โดยตัดส่วนขยายชื่อไฟล์ (file extension) .gif ออก
5.คำสั่งlast
-ใช้แสดงรายชื่อผู้ login เข้ามาล่าสุด
6.คำสั่งcrontab
-ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ crontabตั้งเวลารันคำสั่งเป็นรอบเวลาที่กำหนด
7.คำสั่งdd
-ลบบรรทัดปัจจุบันทั้งบรรทัด
8.คำสั่งdu
-แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด duเป็นการดูเนื้อที่ว่างบนไดเรคทรอรี่ที่ใช้อยู่
9.คำสั่งdirname
-คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname
10.คำสั่งln
-เป็นคำสั่งไว้สร้าง link ไปยังที่ ที่ต้องการ คลายกับ shortcut
11.คำสั่งenv
-แสดงค่า environment ปัจจุบัน
12.คำสั่งeject
-เป็นคำสั่งให้นำคำสั่งที่ตามหลังคำสั่งeject ไปขึ้นหน้าใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้แต่ละส่วนของโปรแกรมใหญ่ๆ ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนคำสั่ง ejectจะไม่ปรากฏใน Assembly Listing
13.คำสั่งexec
-ที่ใช้ในการแทนค่าตัวแปรแล้วรันคำสั่งแบบพลวัต (dynamicly) บันทึกพฤติกรรมของ exec ไว้
14.คำสั่งfree
-แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ โครงสร้างคำสั่ง free [-b-k-m] โดย option ที่มักใช้กันใน free คือ -b แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย byte -k แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย kilobyte -m แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย megabyteตัวอย่าง free free -b free -k freeเป็นการแสดงสถานะของเมมโมรี่ และเนื้อที่ว่างบนเมมโมรี่ ทั้งกายภาพ ที่ใช้ ใน swap, และบัฟเฟอร์
15.คำสั่งgroups
-
16.คำสั่งhostname
-แสดง/กำหนดชื่อโฮสต์ คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่
17.คำสั่งlp
-
18.คำสั่งmount ของระบบ Unix,Linux
-(เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ)รูบแบบการใช้งาน mount (-t type) DeviceDriver MountPointตัวอย่าง# การ Mount แบบที่1 CdRom mount -t iso9660 /dev/cdrom /mnt/cdromหรือ# mkdir /mnt/cdrom# mount_cd9660 /dev/cd0a /mnt/cdrom#การ Mount CdRomแบบที่2 mount /dev/cdrom (เมื่อmountแล้วCDจะอยู่ที่ /mnt/CdRom ยกเลิกดูคำสั่ง Unmount)
19. คำสั่งmt
-คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux ... คำสั่งกำหนดคำสั่งย่อ ของระบบ Unix,Linux
20.คำสั่งnice
-คำสั่งหรือโปรอกรมเข้าสู่เครื่อง ติดต่อ nice หรือ ติดต่อผู้บริหารเว็บไซต์ + Powered by KnowledgeVolution
21.คำสั่งnohup
-
22.คำสั่งnetstat
-แสดงสถานะของเครือข่ายว่ามีโปรแกรมใดเปิดให้บริการ
23.คำสั่งod
-แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่
24.คำสั่งpr
-คือส่วนหนึ่งของภาษา HTML. คุณสามารถใช้ BBCode ในข้อความที่คุณพิมพ์. และคุณสามารถยกเลิกการใช้ BBCode ในแต่ละข้อความได้ในแบบฟอร์มกรอกข้อความ. BBCode มีรูปแบบคล้ายๆกับภาษา HTM
25.คำสั่งdf
-ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
26.คำสั่ง printf
-รับค่าตัวแรกเป็นข้อความที่จัดรูปแบบการแสดงผล และรับรายการของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลถัดไป.รูปแบบการแสดงผลจะถูกระบุโดยเครื่องหมาย % ตามด้วยอักษรแสดงรูปแบบ. ในกรณีนี้ %d ระบุว่าเราจะพิมพ์ตัวเลขฐานสิบ
27.คำสั่ง df
- ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
28.คำสั่งPrintenv
-คำสั่งนี้จะแสดงค่าตัวแปลสภาพ แวดล้อม. ตัวอย่าง:. -เซ็ตค่าตัวแปรสภาพแวดล้อม. จะใช้คำสั่ง ‘setenv’
29.คำสั่งpg
-เป็นคำสั่งใช้แสดง content ของไฟล์ ทั้งหมดทีละจอภาพ ถ้าต้องการแสดงหน้า ถัดไป ต้องกด แป้น enter; รูปแบบ. pg filename
30.Quota
31.คำสั่งrlogin
-ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin. rsh. ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)